อาจารย์วราภรณ์ เรือนยศ และอาจารย์จากมหาวิทยาลันเนชั่นลำปาง จัดทำโครงการการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เรื่อง “หลักการเขียนโครงการวิจัยเพื่อชุมชน ท้องถิ่นเพื่อการรับทุนสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก“
โดยมีวัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ในการเขียนวิจัยจากหน่วยงานภายนอก เพื่อเป็นเวทีให้นักวิจัย อาจารย์ ในมหาวิทยาลัยได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโครงร่างวิจัยเพื่อให้ได้รับสนับสนุนทุนวิจัย เพื่ออส่งเสริมการเรียนรู้ประสบการณ์ในการเขียนโครงสร้างของคนในชุมชน ให้มีความรู้ความสามารถที่ชัดเจน มุ่งเน้นให้ “การวิจัยเพื่อท้องถิ่น” เป็นงานวิจัยเพื่อพลังท้องถิ่นอย่างแท้จริง เน้นกระบวนการเรียนรู้ของคนในท้องถิ่นที่ก่อให้เกิดพลังในการแก้ไขปัญหาตนเองได้ และใช้หลักการ ทฤษฏีที่สามารถบูรณาการกับท้องถิ่น เพื่อสร้าง “คนรู้” ที่นำไปแก้ไขปัญหาในชุมชน อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน และสามารถนำผลการวิจัยกลับคืนสู่ชุมชนและสังเคราะห์ความรู้สู่การตีพิมพ์เผยแพร่เป็นผลงานวิชาการรับใช้สังคม
วัดผลจากความพึ่งพอใจของคนที่เข้าร่วมโครงการไม่ต่ำกว่า 3.5 จากคะแนน 5 ระดับ ผลการประเมินจากผู้เข้าร่วม 15 คน อยู่ในระดับมากที่สุดคือ 4.19 และ 4.16 ตามลำดับ ผลการดำเนินงานโครงการถือว่า บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
สรุปการแบ่งปันจากแต่ละท่าน
อ.วราภรณ์ เรืองยศ
เป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ตาม Powerpoint
ในหัวข้อ “หลักการเขียนโครงร่างงานวิจัย”
ซึ่งส่วนประกอบของโครงร่างงานวิจัย ประกอบด้วย
1. ชื่อเรื่อง
2. บทคัดย่อ
3. ความสำคัญและที่มาของปัญหาวิจัย
4. วัตถุประสงค์
5. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
6. กรอบแนวคิดการวิจัย
7. คำนิยามศัพท์เฉพาะ
8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
9. สมมติฐาน
10. ขอบเขตการวิจัย
11. ระเบียบวิธีวิจัย
12. ข้อตกลงเบื้องต้น
13. เอกสารอ้างอิง
—
เปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรื่องชื่อเรื่อง
อ.วราภรณ์ เล่าว่า มีประกาศทุนวิจัย 2 เรื่องมานำเสนอ
– ศูนย์ประสานการศึกษานโยบายที่ดิน ปี 2556
– การแก้ไขปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นเพื่อคุ้มครองสิทธิของชุมชนตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖๗ วรรคสอง
อ.วิเชพ เล่าว่าชื่อที่เคยตั้งมามีกระบวนการอย่างไร
การใช้ต้นไม้ชุมชนในการเก็บข้อมูล
อ.ดร.สุจิรา บอกว่ากว่าจะได้หัวข้อมา ต้องใช้เวลามาก
ในกลุ่มแลกเปลี่ยนว่า หัวข้อต้องตรงกับผู้ให้ทุน และความต้องการของชุมชน
—
อ.ดร.อติชาต หาญชาญชัย
การเขียนบทนำ และวรรณกรรม
ต้องให้ความสำคัญกับที่มาที่ไป
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ และตั้งอยู่บนหลักการที่เกี่ยวข้อง
—
อ.ปวินท์รัตน์ แซ่ตั้ง ได้ทุนจากเครือข่ายภาคเหนือตอนบน
แลกเปลี่ยนว่างานวิจัยต้องใช้เวลา ทำให้ครบทุกเรื่องที่สามารถทำได้
ต้องลงมือจริง ทุ่มเท และทำให้ครบวงจร
มีทั้งภาพ คลิ๊ป เว็บไซต์ ที่เกิดในพื้นที่จริง ได้ผลงาน และนำไปขายได้จริง
—
อ.ดร.สุจิรา หาผล
เล่าว่าการศึกษาตำนาน เรื่องเล่าของอำเภอต่าง ๆ มีกระบวนการมากมาย
ทั้งเชิงคุณภาพ วิพากษ์โดยนักวิชาการ ใช้แบบสำรวจ และวิพากษ์ผลโดยชุมชน
การเลือกคน เลือกปราชญ์ชาวบ้านเป็นเรื่องสำคัญ และต้องเขียนเรื่องของแต่ละอำเภอถึง 13 เล่ม
หลังได้รับทุนก็จะมีการติดตามจากผู้ให้ทุน และมีข้อเสนอแนะที่ทำให้แผนอาจต้องถูกปรับเปลี่ยน
—
อ.โอปอล์ รังสิมันตุชาติ
เล่าว่าการขอทุนวิจัยสำหรับงานวิจัยระดับปริญญาโท
มีแหล่งทุนสนับสนุนจาก สกว.อย่างต่อเนื่อง ซึ่งตนได้รับจากเชียงใหม่
และมีกระบวนการคล้ายกับทุนวิจัยทั่วไป
เป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ตาม Powerpoint
ในหัวข้อ “หลักการเขียนโครงร่างงานวิจัย”
ซึ่งส่วนประกอบของโครงร่างงานวิจัย ประกอบด้วย
1. ชื่อเรื่อง
2. บทคัดย่อ
3. ความสำคัญและที่มาของปัญหาวิจัย
4. วัตถุประสงค์
5. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
6. กรอบแนวคิดการวิจัย
7. คำนิยามศัพท์เฉพาะ
8. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
9. สมมติฐาน
10. ขอบเขตการวิจัย
11. ระเบียบวิธีวิจัย
12. ข้อตกลงเบื้องต้น
13. เอกสารอ้างอิง
—
เปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรื่องชื่อเรื่อง
อ.วราภรณ์ เล่าว่า มีประกาศทุนวิจัย 2 เรื่องมานำเสนอ
– ศูนย์ประสานการศึกษานโยบายที่ดิน ปี 2556
– การแก้ไขปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นเพื่อคุ้มครองสิทธิของชุมชนตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖๗ วรรคสอง
อ.วิเชพ เล่าว่าชื่อที่เคยตั้งมามีกระบวนการอย่างไร
การใช้ต้นไม้ชุมชนในการเก็บข้อมูล
อ.ดร.สุจิรา บอกว่ากว่าจะได้หัวข้อมา ต้องใช้เวลามาก
ในกลุ่มแลกเปลี่ยนว่า หัวข้อต้องตรงกับผู้ให้ทุน และความต้องการของชุมชน
—
อ.ดร.อติชาต หาญชาญชัย
การเขียนบทนำ และวรรณกรรม
ต้องให้ความสำคัญกับที่มาที่ไป
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ และตั้งอยู่บนหลักการที่เกี่ยวข้อง
—
อ.ปวินท์รัตน์ แซ่ตั้ง ได้ทุนจากเครือข่ายภาคเหนือตอนบน
แลกเปลี่ยนว่างานวิจัยต้องใช้เวลา ทำให้ครบทุกเรื่องที่สามารถทำได้
ต้องลงมือจริง ทุ่มเท และทำให้ครบวงจร
มีทั้งภาพ คลิ๊ป เว็บไซต์ ที่เกิดในพื้นที่จริง ได้ผลงาน และนำไปขายได้จริง
—
อ.ดร.สุจิรา หาผล
เล่าว่าการศึกษาตำนาน เรื่องเล่าของอำเภอต่าง ๆ มีกระบวนการมากมาย
ทั้งเชิงคุณภาพ วิพากษ์โดยนักวิชาการ ใช้แบบสำรวจ และวิพากษ์ผลโดยชุมชน
การเลือกคน เลือกปราชญ์ชาวบ้านเป็นเรื่องสำคัญ และต้องเขียนเรื่องของแต่ละอำเภอถึง 13 เล่ม
หลังได้รับทุนก็จะมีการติดตามจากผู้ให้ทุน และมีข้อเสนอแนะที่ทำให้แผนอาจต้องถูกปรับเปลี่ยน
—
อ.โอปอล์ รังสิมันตุชาติ
เล่าว่าการขอทุนวิจัยสำหรับงานวิจัยระดับปริญญาโท
มีแหล่งทุนสนับสนุนจาก สกว.อย่างต่อเนื่อง ซึ่งตนได้รับจากเชียงใหม่
และมีกระบวนการคล้ายกับทุนวิจัยทั่วไป
เรียบเรียงโดย สุทธินนท์ พรมพา 5308008